วันศุกร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

ศูนย์พัฒนนาฝีมือแรงงาน จ.เพชรบุรี เปิดอบรม ฟรี

การประยุกต์ BSC และ KPIsในเชิงปฏิบัติ
Balanced Scorecard and Key Performance Indicators Implementation
ในยุคนี้เราค่อนข้างจะคุ้นเคยกับ BSC และ KPIs กันอย่างมาก คนที่รู้จัก KPIs ก็พยายามทำ KPIs อย่างเอาเป็นเอาตาย พยายามมอง KPIs เป็นยาวิเศษหม้อใหญ่ที่แก้ปัญหาได้ทุกอย่าง การทำ KPIs อย่างเอาเป็นเอาตายในปัจจุบันมีโอกาสสูงมากที่จะล้มเหลวเหมือนกิจกรรมทั้งหลายที่ดำเนินการกันมาแล้วในรูปแบบเดียวกันในอดีต เช่น QCC, Reengineering, suggestion และอีกมากมาย ที่พร่ำสอน และเรียนรู้กัน เพื่อต้องการหาหนทางสู่ความสำเร็จ BSC และ KPIs นั้นมีโอกาสอย่างมากที่จะล้มเหลว เมื่อนำมาใช้ในประเทศไทย หากเราไม่ยอมนั่งลงทำความเข้าใจกันอย่างจริงจัง และใจเย็น ความจริงแล้วการบริหาร BSC และ KPIs ให้ได้ผล เป็นเรื่องที่ควรจะทำให้เป็นธรรมชาติที่สุด และพยายามลดความยุ่งยากลงให้มากๆ สิ่งที่คำนึงถึงหลักๆ ก็มีไม่มาก เช่น ผลกระทบจากสิ่งที่สนใจหากเราทำสิ่งหนึ่ง แต่ไม่กระทบกับสิ่งที่เรากำลังสนใจ ก็แสดงว่าสิ่งที่ทำนั้นไม่สะท้อนกับสิ่งที่เรากำลังสนใจ วิธีการแก้นั้นเพียงแต่ไปหาวิธีการอื่นทำแทน หรือไปสนใจจุดอื่นที่น่าจะมีความเป็นไปได้แทนจุดเดิม ที่สุดเราก็จะสามารถบรรลุเป้าหมายได้
1. ทบทวนแนวคิดของ BSC และ KPIs
-คุณค่าธุรกิจ (Business Value)
-ดัชนีชี้วัดสมรรถนะ (BSC) 4 ด้าน
-สิ่งที่เกี่ยวข้องกับการทำ KPIs and BSC

2. ศูนย์กลางกิจกรรมสู่การแสวงหา KPIs
3. สิ่งที่ควรคำนึงถึงในการกำหนด KPIs
4. ตัวอย่างการพัฒนา KPIs และการทำ BSC จาก Benchmarking
5. ขบวนการทำในสิ่งที่ดีกว่า (Improvement Process)
6. การวัดสมรรถนะ (Performance Measurement)
7. ทีมงาน และการสนับสนุน
8. การประเมินผลการปฏิบัติงาน (Job Appraisal)
-ความเชื่อเรื่องบุคลากร และองค์กร
- ความหมายของการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- ความสำคัญของการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- หลักการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- ประโยชน์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- ผู้มีบทบาทในการประเมิน
-เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผล
- แนวคิดเรื่อง “ค่าตอบแทน หรือประโยชน์”
- รูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- กระบวนการประเมินผลงาน
- การแจ้งผลการประเมินผลงาน
- ผลกระทบเมื่อการประเมินผลผิดพลาด
9. BSC & KPIs เพื่อการประเมินผลงาน(Performance Appraisal)
-ปัจจัยภายนอกกับความจำเป็นในการปรับรูปแบบการประเมินผล
- แบบจำลองการประเมินผลงาน
-แนวโน้มในการเปลี่ยนแปลงลักษณะของการทำงาน
-การประเมินโดยใช้ BSC หรือ KPIs
-ปัจจัยภายในกับความจำเป็นการในปรับรูปแบบการประเมินผล
-แนวทางการสร้างระบบการประเมินผลงานโดยใช้ BSC & KPIs
- เป้าหมายในการแก้ปัญหาการประเมินผล
- ตัวอย่าง KPIs
- การประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้หลักผลงาน
- การออกแบบ KPIs
10. การทำให้ง่าย และน่าสนใจ
- การใช้การบันทึกข้อมูลแบบง่าย (ตารางบันทึก)
-การออกแบบให้งานที่ต้องทำลดลง และง่ายขึ้น
- การใช้กราฟ (ที่ธรรมดา)

11. แนวความคิดบางอย่างที่ทำในสิ่งที่ดีกว่า
หลักสูตร ตัวชี้วัดความสำเร็จในการปฏิบัติงาน
Key Performance Indicators(KPIs)
วันที่หนึ่ง
เวลา 08.15 -10.00น. บรรยาย หัวข้อ เหตุผลสำคัญที่ต้องมีการวัดผลความสำเร็จ โดย อาจารย์สมพงษ์ ส่งแสง
เวลา 10.00 -10 .30 น. เบรก
เวลา 10.30 -12.00 น. การบรรยายหัวข้อ การสร้างตัวชี้วัดที่ดี โดย อาจารย์สมพงษ์ ส่งแสง
เวลา 12 .00- 13 .00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00-14 .30 น. การบรรยายหัวข้อ องค์ประกอบของตัวชี้วัด โดย อาจารย์สมพงษ์ ส่งแสง
เวลา 14.30-14 .45 น. เบรก
เวลา 14.45-16.00 น. การบรรยายหัวข้อ การตั้งเป้าหมายการวัด โดย อาจารย์สมพงษ์ ส่งแสง
เวลา 16.00-17.00 น. การบรรยายหัวข้อ มิติของการประเมิน โดย อาจารย์สมพงษ์ ส่งแสง

วันที่สอง
เวลา 08.15 - 09.00 น. การบรรยายหัวข้อ Lead and Lag Indicators
เวลา 09.00 - 10.30 น. บรรยายหัวข้อ ประเด็นต่างๆที่ต้องคำนึงถึงในการสร้างตัวชี้วัด
โดย อาจารย์สมพงษ์ ส่งแสง
เวลา 10.30 - 10.45 น. เบรก
เวลา 10.45 - 12.00 น. Work shop การสร้างตัวชี้วัด และเกณฑ์การประเมินของแต่ละฝ่ายงาน
โดย อาจารย์สมพงษ์ ส่งแสง
เวลา 12.00 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00 - 14.30 น. Work shop แผนการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดโดย อาจารย์สมพงษ์ ส่งแสง
เวลา 14.30 - 14.45 น. เบรก
เวลา 14.45- 17.00 น. Work shop ตารางรายงานและตารางความรับผิดชอบโดย อาจารย์สมพงษ์ ส่งแสง